แผนการ สอน การ ดูแล เท้า ผู้ ป่วย เบาหวาน

เบาหวานทุกท่านโดยเฉพาะผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมาหลายปี ควรจะต้องตรวจเท้าด้วตัวเองอย่างละเอียด เพื่อที่จะค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผล การตรวจอย่างละเอียดทำได้ดังต่อไปนี้ 1.

แผนการให้ความรู้สุขศึกษา เรื่องโรคเบาหวาน

พยาธิสรีรวิทยาของโรคเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน. ใน ณัฐพงษ์ โฆษชุณหนันท์ (บรรณาธิการ), ตำราการป้องกันและการรักษาโรคเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน. เชียงใหม่: ทริค ธิงค์ พนิดา ภูโยฤทธิ์. (2553). ผลของการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าต่ออาการชาและแรงกดที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

การดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน

3 น้ำยาในการทำแผลในปัจจุบันมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับชนิดของแผล เช่นแผลแห้ง: ใช้ไฮโดรเจล เช่นดูโอเดิม แผลแฉะ: ใช้คาลโตสแตท หรือ คูราซอร์ฟ แผลติดเชื้อ: ใช้น้ำยาเบตาดีน 1 ส่วนต่อน้ำเกลือ 3 ส่วน น้ำยาที่ควรหลีกเลี่ยง ( มีผลเสียต่อเนื้อเยื่ออ่อน) คือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์, โพวิโดน ไอโอดีน, อะซิติกแอซิก และน้ำยาเดกิ้น 6. 4 ถ้ามีลักษณะของการติดเชื้อ แพทย์จะรีบให้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อ และจะตัดเนื้อตายบริเวณแผลออกให้มากที่สุดร่วมกับการทำความสะอาดแผลบ่อยๆ 6. 5 ถ้าแผลมีลักษณะขาดเลือดหรือมีเนื้อตาย แพทย์จะประเมินการอุดตันของเส้นเลือดที่มาเลี้ยงบริเวณนั้นถ้าการอุดตันสามารถแก้ไขได้โดยการผ่าตัดซ่อมแซมหรือตัดต่อเส้นเลือดอาจจะทำให้สูญเสียเนื้อตายน้อยลง และสามารถป้องกันการตัดขาได้ 6. 6 การตัดเท้าทิ้งจะทำในกรณีที่การติดเชื้อนั้นทำลายทำลายเท้าจนสูญเสียหน้าที่ หรืออาการของการติดเชื้อรุนแรงจนอาจถึงแก่ชีวิต 6. 7 ในกรณีที่แผลมีอาการขาดเลือดร่วมด้วยแต่ผู้ป่วยไม่สามารถทนการผ่าตัดได้หรือผ่าตัดแก้ไขไม่ได้ การใช้ออกซิเจนความดันสูงในการรักษาอาจจะป้องกันการตัดขาได้ - แสดงภาพอุปกรณ์ที่ใช้ช่วยลดแรงกดบริเวณแผล - แสดงภาพการทำแผลด้วยเฟลต์โฟม, รองเท้าครึ่งเดียว - แสดงภาพน้ำยาในการทำแผล - แสดงภาพการผ่าตัดซ่อมแซมเส้นเลือด - แสดงภาพการตัดเท้า - แสดงภาพของเครื่องออกซิเ

การดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน - GotoKnow

3 เส้นประสาทส่วนปลายที่ควบคุมกล้ามเนื้อในฝ่าเท้าเสื่อมจะทำให้กล้ามเนื้อเล็กๆในฝ่าเท้าลีบลงและขาดความสมดุลระหว่างกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่งอและเหยียดนิ้วเท้าเป็นผลให้นิ้วเท้าจิกลงคล้าบกรงเล็บ และการยื่นออกมาอย่างผิดปกติของกระดูกฝ่าเท้า 2. 4 เส้นประสาทอัตโนมัติเสื่อม ทำให้ปริมาณเหงื่อลดลง ผิวหนังแห้ง และเกิดตาปลาได้ง่าย ปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดรอยแตกบริเวณผิวหนังและก่อให้เกิดการติดเชื้อตามมา - แสดงภาพวัสดุสิ่งแปลกปลอมภายในรองเท้าที่ผู้ป่วยสวมใส่ - แสดงภาพผู้ป่วยที่มีอาการปวดเท้า - แสดงภาพนิ้วเท้าที่จิกลงคล้ายกรงเล็บและการยื่นผิดปกติของฝ่าเท้า - แสดงภาพผิวหนังแห้งและตาปลา 2. 5 ความผิดปกติของหลอดเลือดส่วนปลาย คือสูญเสียการควบคุมการไหลเวียนโลหิต เกิดการลัดทางของเลือดแดงและดำ รวมทั้งการหนาตัวของผนังหลอดเลือด ทำให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณบาดเจ็บลดลง 2. 6 การสูบบุหรี่ทำให้เกิดเส้นเลือดหดตัว เลือดแข็งตัวง่ายขึ้นและการลดลงของออกซิเจนในบริเวณเนื้อเยื่อที่บาดเจ็บทำให้การซ่อมแซมแผลช้าลง 2. 7 การจำกัดการเคลื่อนไหวของข้อซึ่งเกิดจากการที่น้ำตาลในโลหิตที่สูงนานๆไปเกาะตามเส้นเอ็นและเนื้อเยื้อเกี่ยวพัน ทำให้การขยับของข้อผิดปกติ ก่อให้เกิดการบาดเจ็บได้ง่าย 2.

โรคเบาหวาน (Diabetes) | โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต

www lokwannakadi com ภาษา ไทย

การตรวจเท้าโรคเบาหวาน

ออก กํา ลังกา ย เข่า เสื่อม
  • Momo paradise สาขา central world
  • โรคเบาหวาน (Diabetes) | โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต
  • การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน - AM Pro Health
  • ช่วง สงกรานต์ ไป เที่ยว ประเทศ ไหน ดี
  • การ ทำความ สะอาด หม้อ อ ลู มิ เนียม
  • Inizio เกาะแก้ว ภูเก็ต จาก LH
  • การ คิด อย่าง มี วิจารณญาณ หมาย ถึง
  • แวะส่อง สถิติหวยออกวันอาทิตย์ นักคำนวณยิ้มกว้าง เจอเลข 2 โผล่เพียบ
  • ดูหนังออนไลน์ Once Upon a Time in Hollywood (2019) กาลครั้งหนึ่งในฮอลลีวู้ด - เต็มเรื่อง พากย์ไทย
  • Citi prestige แลก ไมล์ 2019
  • แผนการให้ความรู้สุขศึกษา เรื่องโรคเบาหวาน
บริษัท เอ ฟ เวอร์ ไบ ร์ ท