ตัวอย่าง โครงการ เลี้ยง ไก่ ไข่

หลักการและเหตุผล การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ถือได้ว่าเป็นสัตว์เศรษฐกิจเนื่องจากสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่างโครงต่อเนื่อง ตลอดทั้งปีในประเทศไทยไข่ไก่เป็นที่นิยมของผู้บริโภคและเป็นที่ต้องการของตลาดทั่วประเทศไม่ว่าเป็นร้านค้าที่สั่งซื้อไข่ไก่นำไปทำอาหารเพราะว่าไข่ไก่ได้ถือว่าอยู่ในอาหาร 5 หมู่ การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่เพื่อที่จะเป็นองค์ความรู้สำหรับนักเรียน ในการศึกษาและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้และมีทักษะในวิชาชีพ 2. เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ แก่การพัฒนาตนเอง ครอบครัวและสังคม 3.

การ เขียน โครงการ เลี้ยง ไก่ ไข่

29 ก. ค. 2563 เวลา 10:50 น. รร. บ้านแสนสุข จ. สระแก้ว สานประโยชน์โครงการเลี้ยงไก่ไข่ฯ ของซีพีเอฟ นำ "ไข่ไก่" ส่งต่อเป็นอาหารให้น้องๆ และชุมชน ได้อิ่มท้อง พร้อมสร้างรายได้ ช่วงโควิด - 19 โรงเรียนบ้านแสนสุข ต. คลองน้ำใส อ. อรัญประเทศ จ.

ตัวอย่าง โครงการ เลี้ยง ไก่ ไข่ เต็มเรื่อง

ตัวอย่าง โครงการ เลี้ยง ไก่ ไข่ เต็มเรื่อง

00 2 เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ ตัวชี้วัดความสำเร็จ: นักเรียนนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ 3 เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าในอาชีพที่สุจริต ตัวชี้วัดความสำเร็จ: นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าในอาชีพ 100. 00 กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 63 นักเรียนชั้น ป. 1- ป. 6 - การดำเนินงาน/กิจกรรม วิธีดำเนินการ (บรรยายเพิ่มเติม) 1. นักเรียนชั้น ป. 1-6 ทุกคนได้เลี้ยงไก่ไข่คนละ 2 ตัว 2. เลี้ยงไก่ไข่ 20 ตัว ที่โรงเรียนเป็นการสาธิตให้นักเรียนได้เรียนรู้ 3. นักเรียนนำไข่ไก่ที่ได้มาขายให้กับแม่ครัวที่โรงเรียน สัปดาห์ละ 2 ฟองต่อคน งบประมาณที่ใช้จ่ายมีดังนี้ -ไก่พันธุ์ไข่ 150 ตัว ตัวละ 200 บาท รวม 30, 000 บาท -อาหารไก่ 10x500 = 5, 000 บาท -อวน 1, 500 บาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีผลผลิตส่งเสริมโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงไก่ไข่ 3. นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าในอาชีพที่สุจริต 4. นักเรียนนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ เอกสารประกอบโครงการ โครงการเข้าสู่ระบบโดย wanna เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 13:55 น.

ประวัติความเป็นมา ในอดีตการเลี้ยงไก่ไข่ในประเทศไทย มีการเลี้ยงตามบ้านเล็กๆ น้อยๆ เพื่อกินเนื้อกินไข่ คือ การเลี้ยงแบบปล่อยตามธรรมชาติให้ไก่อาศัยตามใต้ถุนบ้าน ชายคา โรงนา และต้นไม้ พันธุ์ไก่ที่เลี้ยงจะเป็นไก่พันธุ์พื้นเมือง เช่น ไก่แจ้ ไก่อู และไก่ตะเภา เป็นต้น ต่อมาในปี พ. ศ. 2492 ได้สั่งไก่พันธุ์โร๊ดไอส์แลนด์แดง จากประเทศสหรัฐอเมริกาและพันธุ์ออสตราล็อปจากประเทศออสเตรเลีย เข้ามาทดลองเลี้ยงและส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงเป็นอาชีพ รวมทั้งได้สั่งไก่พันธุ์อื่นๆ เข้ามาเลี้ยง เช่น พันธุ์บาร์พลีมัทร็อค พันธุ์นิวแฮมเชียร์ เป็นต้น และในปี พ. 2489 นี้เองเป็นปีที่มีการตื่นตัวในการเลี้ยงไก่อย่างมาก เนื่องจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นและ จอมพลผิน ชุณหวัณ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตรและประธานกรรมการการส่งเสริมปศุสัตว์แห่งชาติ ให้การสนับสนุนและส่งเสริมการเลี้ยงไก่เป็นอย่างมาก ต่อมาในราวปี พ. 2494-2495 ได้มีการเลี้ยงไก่ลูกผสม เพื่อให้ได้ไข่ดกและทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศของเมืองไทย เชน พันธุ์ออสตราไวท์โร๊ดบาร์ เป็นต้น นอกจากนี้องค์การอาหารและเกษตรขององค์การสหประชาชาติยังได้ส่งผู้เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงไก่และโรคไก่เข้ามาช่วยเหลือและส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงไก่ไข่ ในประเทศไทย อีกทั้งกรมปศุสัตว์ได้ทำการศึกษา ทดลอง และผลิตอุปกรณ์ต่างๆ ในการเลี้ยงไก่ไข่ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา การเลี้ยงไก่ไข่เริ่มเป็นที่ยอมรับของประชาชนมากขึ้น กลายเป็นอาชีพที่สำคัญของคนไทยในปัจจุบัน 1.

โครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโคกเหรียง (โรงเรียนวัดโคกเหรียง) | สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

  • Love live school idol project ภาค 1.6
  • ตัวอย่าง โครงการ เลี้ยง ไก่ ไข่ เต็มเรื่อง
  • โครงการเลี้ยงไก่ไข่ฯ หล่อเลี้ยงชุมชนช่วงโควิด - 19
  • เจ ลา ติ น ราคา โลตัส
  • คุณยาย มีน้ำท่วมปอด เป็นเบาหวาน แพทย์ให้กลับมาบ้านได้ กินยาขับปัสสาวะ เป็นกรดไหลย้อน ควรดูแลอย่างไร - ถาม พบแพทย
  • การสนับสนุน World of Tanks (WOT)

โครงการเลี้ยงสัตว์ปีก

1. เพื่อนำผลผลิตจากโครงการนำไปส่งเสริมโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน 2. เพื่อให้นักเรียนเลี้ยงไก่ไข่ได้อย่างถูกวิธี 3. เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าในอาชีพที่สุจริต 4. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

เศรษฐกิจ – มีการวางแผนดำเนินการตามกิจกรรมโดยคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ประหยัด และคุ้มค่าที่สุด 2. สังคม – สังคมไทยดำรงอยู่บนพื้นฐานของความสามัคคี ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน 3. วัฒนธรรม - เอกลักษณ์วิถีเกษตรกรรมของไทยจะยังคงอยู่ตราบนานเท่านาน 4 สิ่งแวดล้อม – เกิดความรัก และร่วมกันหวงแหนทรัพยากรสิ่งแวดล้อม

star Ratings 6801 Views Like Bookmark รายละเอียดโครงการ ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโคกเหรียง (โรงเรียนวัดโคกเหรียง) ภายใต้โครงการ แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดโคกเหรียง ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา วันที่อนุมัติ ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 งบประมาณ 20, 000. 00 บาท ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวราพร แซมมณี (0872887623) พี่เลี้ยงโครงการ วรรณา สุวรรณชาตรี พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา ละติจูด-ลองจิจูด งวดสำหรับการทำรายงาน งวด วันที่งวดโครงการ วันที่งวดรายงาน งบประมาณ (บาท) จากวันที่ ถึงวันที่ จากวันที่ ถึงวันที่ 1 1 ต. ค. 2561 30 ก. ย. 2562 20, 000.