หน้าที่ ของ ต่อ ม พารา ไทรอยด์

– เป็นต่อมเล็กๆ สีแดงสด 4 ต่อม ติดอยู่กับต่อมไทรอยด์ – เป็นต่อมไร้ท่อที่สำคัญต่อชีวิตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมมาก (แต่ไม่พบในปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ) ฮอร์โมนที่สร้าง พาราธอร์โมน (parathormone) อวัยวะเป้าหมาย กระดูก ท่อไต และลำไส้เล็ก หน้าที่ของ Parathormone เพิ่มการละลาย Ca2+ และ PO3- ออกจากกระดูกและฟัน เพิ่มการดูด Ca2+ และ PO3- ที่ลำไส้ โดยอาศัยวิตามิน D ช่วย เพิ่มการดูด Ca2+ และ PO3- กลับคืนที่ท่อของหน่วยไต ความผิดปกติของปริมาณ Parathormone 1. Hypoparathyroidism เป็นความผิดปกติเนื่องจากพาราธอร์โมนต่ำเกินไป อาการ – Ca2+ และ PO3- ในเลือดต่ำ 1. 1. กล้ามเนื้อชักกระตุก 1. 2. ปอดไม่ทำงาน 1. 3. เลือดแข็งตัวช้าเมื่อเกิดบาดแผล การแก้ไข ฉีด Parathormone ร่วมกับวิตามิน D 2. Hyperparathyroidism เป็นความผิดปกติเนื่องจากพาราธอร์โมนมากเกินไป อาการ – Ca2+ และ PO3- ในเลือดสูง 2. Ca2+ สะสมมากที่หัวใจ ปอด ทำให้แข็ง 2. เลือดแข็งตัวเนื่องจากเกิดบาดแผล 2. กระดูกบาง ฟันหัก และผุง่าย การแก้ไข ฉีด Calcitonin เพื่อต้านการทำงานของ Parathormone การทำงานของต่อมพาราไทรอยด์ในการควบคุมสมดุลของแคลเซียม ภาพ ก- ข เป็นการควบคุมสมดุลของแคลเซียม ( Ø หมายถึงการยับยั้ง) ภาพ ก.

ต่อมพาราไทรอยด์ | HORMONER BIOLOGY

ควบคุมโดยแคลซิโทนิน ภาพ ข. ควบคุมโดยพาราทอร์โมน อ้างอิง:: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. ครู วัชวัลย์ ครุฑไชยันต์. ต่อมพาราไทรอยด์. วันที่ค้นข้อมูล 08 กุมภาพันธ์ 2557, จาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เวปไซด์:. com/2010/05/

พาราไทรอยด์โรคร้ายที่ไม่อาจหลีกเลี่ยง (Slim up) โดย พญ.

ต่อมและระบบของต่อมในร่างกายที่ไม่อยู่ในระบบต่อมไร้ท่อมีชื่อแตกต่างกันไปและมีอยู่มากจุด ต่างทำประโยชน์ให้แก่ชีวิตตามหน้าที่ที่ธรรมชาติได้กำหนดและมีไว้ไห้ เช่น ต่อมน้ำนม ต่อมน้ำเหลือง ต่อมนํ้าลาย ต่อมลูกหมาก เป็นต้น แต่ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะต่อมไร้ท่อ ซึ่งเป็นระบบใหญ่และสำคัญมากสำหรับร่างกายของมนุษย์เช่นเดียวกับระบบสำคัญๆ ดังได้กล่าวมาแล้ว ต่อมไร้ท่อ ทำหน้าที่โดยหลักใหญ่แยกออกได้เป็น 2 ประการ คือ ๑. ทำหน้าที่ควบคุม สั่งงานประสานกับระบบต่างๆ โดยส่วนมาก จะกระจายไปกับเลือด เช่น กระตุ้นและควบคุมการเจริญเติบโต ควบคุมให้วงจรต่างๆ ในร่างกายให้เป็นไปตามปกติ ๒.

ต่อมพาราไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์ ( Parathyroid gland) รูปที่ 3-9 แสดงตำแหน่งที่อยู่ของต่อมพาราไทรอยด์ มีขนาดเท่าเมล็ดถั่วเขียว มีจำนวน 4 ต่อม ฝังอยู่ด้านหลังของต่อมไทรอยด์ข้างละ 2 ต่อม เป็นต่อมไร้ท่อที่สำคัญต่อชีวิตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไม่พบในปลา และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมนี้คือ parathormone ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ 1.

- เป็นต่อมเล็กๆ สีแดงสด 4 ต่อม ติดอยู่กับต่อมไทรอยด์ - เป็นต่อมไร้ท่อที่สำคัญต่อชีวิตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมมาก (แต่ไม่พบในปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ) ฮอร์โมนที่สร้าง พาราธอร์โมน (parathormone) อวัยวะเป้าหมาย กระดูก ท่อไต และลำไส้เล็ก หน้าที่ของ Parathormone 1. เพิ่มการละลาย Ca2+ และ PO3- ออกจากกระดูกและฟัน 2. เพิ่มการดูด Ca2+ และ PO3- ที่ลำไส้ โดยอาศัยวิตามิน D ช่วย 3. เพิ่มการดูด Ca2+ และ PO3- กลับคืนที่ท่อของหน่วยไต ความผิดปกติของปริมาณ Parathormone 1. Hypoparathyroidism เป็นความผิดปกติเนื่องจากพาราธอร์โมนต่ำเกินไป อาการ - Ca2+ และ PO3- ในเลือดต่ำ - กล้ามเนื้อชักกระตุก - ปอดไม่ทำงาน - เลือดแข็งตัวช้าเมื่อเกิดบาดแผล การแก้ไข ฉีด Parathormone ร่วมกับวิตามิน D 2. Hyperparathyroidism เป็นความผิดปกติเนื่องจากพาราธอร์โมนมากเกินไป อาการ - Ca2+ และ PO3- ในเลือดสูง - Ca2+ สะสมมากที่หัวใจ ปอด ทำให้แข็ง - เลือดแข็งตัวเนื่องจากเกิดบาดแผล - กระดูกบาง ฟันหัก และผุง่าย การแก้ไข ฉีด Calcitonin เพื่อต้านการทำงานของ Parathormone

กรณีที่มีฮอร์โมนสูงเกินไป จะเกิดสภาวะที่เรียกว่าไฮเปอร์พาราไทรอยด์ดิสซึม ( Hyperparathyroidism) มีผลให้มีการดึงฟอสฟอรัสออกจากเลือด แคลเซียมถูกดึงออกจากกระดูกและฟันเข้าสู่กระแสเลือด แคลเซียมในเลือดสูงกว่าปกติ กระดูกผิดปกติ กระดูกบาง ฟันหักและผุง่าย รูปที่ 3-10 ภาพ ก- ข เป็นการควบคุมสมดุลของแคลเซียม ( Ø หมายถึงการยับยั้ง) ภาพ ก. ควบคุมโดยแคลซิโทนิน ภาพ ข.

ดัดัลอนัญญา " Calcitonin คืออะไร? " ข่าววิทยาศาสตร์ชีวิตการแพทย์, 26 ก. พ. 2019 มีให้ที่นี่ 2. " ต่อมพาราไธรอยด์" กายวิภาคและสรีรวิทยาไม่มีขอบเขต, ลูเมน, วางจำหน่ายที่นี่ เอื้อเฟื้อภาพ: 1. " Illu ไทรอยด์พาราไธรอยด์" (โดเมนสาธารณะ) ผ่านวิกิมีเดียคอมมอนส์ 2. " ระเบียบแคลเซียม" โดย Mikael Häggström (โดเมนสาธารณะ) ผ่าน Commons Wikimedia

  1. ต่อมพาราไทรอยด์ | HORMONER BIOLOGY
  2. นิ ส สัน ออ นิ ว
  3. เหรียญ หลวง ปู่ หลิว รุ่น เจ้าสัว
  4. หน้าที่ของระบบต่อมไร้ท่อ
  5. ความแตกต่างระหว่าง calcitonin และฮอร์โมนพาราไธรอยด์คืออะไร - 2021 - ข่าว
  6. ต่อมไร้ท่อ: ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland)