คณะ กรรมการ ป ป ช

  1. คณะ กรรมการ ป ป ช ขอนแก่น
  2. ประกาศแล้ว! สเปก เลขาธิการ ป.ป.ช.
  3. คณะ กรรมการ ป ป ช ย่อมาจาก
  4. คณะ กรรมการ ป ป ช ประจำจังหวัดสุรินทร์

[ แก้] รายนามคณะกรรมการ [ แก้] ปี 2542-2546 [ แก้] ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 1 เมษายน พ. 2542 – 24 ตุลาคม พ.

คณะ กรรมการ ป ป ช ขอนแก่น

2555 - ปัจจุบัน) [18] ณรงค์ รัฐอมฤต กรรมการ (29 พฤศจิกายน พ. 2556 - ปัจจุบัน) [19] สุภา ปิยะจิตติ กรรมการ (9 กันยายน พ. 2557 - ปัจจุบัน) [20] ข้อวิจารณ์ [ แก้] วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561 คณะกรรมการ ปปช. ได้ออกคำสั่งให้สภามหาวิทยาลัยทุกคนทุกมหาวิทยาลัย ต้องยื่นบัญชีทรัพย์สิน - หนี้สิน ทำให้ส่งผลกระทบต่อ สมเด็จพระสังฆราช ในตำแหน่งนายกสภา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย และพระเถระชั้นผู้ใหญ่ และทำให้กรรมการสภามหาวิทยาลัยในประเทศหลายแห่งไม่พอใจในคำสั่ง อ้างอิง [ แก้] แหล่งข้อมูลอื่น [ แก้] สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ภาพถ่ายทางอากาศของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ในกรณีที่คณะกรรมการคัดเลือกคัดเลือกบุคคลได้ไม่ครบจำนวนตาม (๓) ให้แจ้งให้องค์กรตาม (๑) แต่ละองค์กรเสนอรายชื่อบุคคลใหม่เป็นจำนวนเท่ากับจำนวนกรรมการที่ยังขาดอยู่ภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่มีการคัดเลือกบุคคลได้ไม่ครบจำนวนดังกล่าว และให้คณะกรรมการคัดเลือกดำเนินการคัดเลือกเพิ่มเติมตาม (๓) เป็นกรรมการเพิ่มเติมจากที่มีการคัดเลือกบุคคลเป็นกรรมการไว้แล้ว 5.

เกี่ยวกับสำนักงาน ป. ป. ท. 1. ความเป็นมา 1. 1 ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีภารกิจโดยตรงในการป้องกันปราบปรามการทุจริตของบุคลากรในภาคราชการ แต่รัฐบาลกลับขาดเครื่องมือโดยตรงที่จะแก้ไขปัญหานี้ แม้ ป. ช. จะมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐในทุกระดับและสามารถดำเนินการได้ดีในระดับหนึ่ง แต่เนื่องจากภารกิจหน้าที่ดังกล่าวทำให้ ป. มีเรื่องในความรับผิดชอบจำนวนมากเกินกำลังและขนาดขององค์กร ทั้งยังเป็นองค์กรอิสระที่รัฐบาลมิได้รับผิดชอบ ดังนั้น คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ. ศ. 2544 วันที่ 4 มิถุนายน พ. 2545 และวันที่ 8 ตุลาคม พ. 2545 ให้มีการจัดตั้งองค์การฝ่ายบริหารเพื่อทำหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐขึ้น ต่อมาในปี พ. 2546 กระทรวงยุติธรรมก็ได้เสนอร่างกฎหมายเพื่อดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว 1. 2 โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 250 (3) ได้กำหนดให้คณะกรรมการ ป. มีอำนาจหน้าที่เฉพาะไต่สวนและวินิจฉัยการกระทำทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐดำรงตำแหน่งตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง หรือข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ผู้อำนวยการกอง หรือเทียบเท่าขึ้นไปร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม รวมทั้งดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการในระดับต่ำกว่าที่ร่วมกระทำความผิดกับผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว หรือกับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือที่กระทำความผิดในลักษณะที่คณะกรรมการ ป.

ประกาศแล้ว! สเปก เลขาธิการ ป.ป.ช.

เห็นสมควรดำเนินการด้วย จึงส่งผลให้การกระทำทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ดำรงตำแหน่งต่ำกว่าผู้บริหารระดับสูงและข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งต่ำกว่าผู้อำนวยการกองไม่อยู่ในอำนาจของ ป. และยังไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบ กระทรวงยุติธรรมจึงได้ปรับปรุงร่างกฎหมายที่ได้เสนอตามข้อ 1. 1 ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ และคณะรัฐมนตรีก็ได้เสนอร่างกฎหมายดังกล่าวต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณาแล้ว มีมติให้ความเห็นชอบเป็นกฎหมาย 1. 3 พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ. 2551 ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 21 ก ลงวันที่ 24 มกราคม พ. 2551 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม พ. 2551 อันเป็นวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยพระราชบัญญัติดังกล่าวได้กำหนดโครงสร้างองค์กรฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามทุจริตในภาครัฐเป็น 2 ส่วน กล่าวคือ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (คณะกรรมการ ป. ท. ) และสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป. ) เพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐต่อไป พระราชบัญญัติของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.

วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์ กรรมการ วิสุทธิ์ โพธิแท่น กรรมการ ปี 2549-2558 [ แก้] แต่งตั้งตามประกาศ คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 19 ลงวันที่ 22 กันยายน 2549 ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ ประธานกรรมการ กล้านรงค์ จันทิก กรรมการ (พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากอายุครบ 70 ปี เมื่อ 17 กันยายน พ. 2556) ณรงค์ รัฐอมฤต กรรมการ (แต่งตั้งเพิ่มเติม 29 พฤศจิกายน พ. 2556 [5]) ใจเด็ด พรไชยา กรรมการ (พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากอายุครบ 70 ปี เมื่อ 13 มีนาคม พ. 2557) สุภา ปิยะจิตติ กรรมการ (แต่งตั้งเพิ่มเติม 18 กันยายน พ. 2557 [6]) ประสาท พงษ์ศิวาภัย กรรมการ เภสัชกร ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร. ภักดี โพธิศิริ กรรมการ ศาสตราจารย์ เมธี ครองแก้ว กรรมการ (พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากอายุครบ 70 ปี เมื่อ 9 สิงหาคม พ. 2555) พลตำรวจเอก สถาพร หลาวทอง กรรมการ (แต่งตั้งเพิ่มเติม 7 พฤศจิกายน พ. 2555 [7] ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ กรรมการ วิชัย วิวิตเสวี กรรมการ (พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากอายุครบ 70 ปี เมื่อ 5 พฤศจิกายน พ. 2558) ไม่มีแต่งตั้งแทน สมลักษณ์ จัดกระบวนพล กรรมการ (พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากอายุครบ 70 ปี เมื่อ 12 พฤษภาคม พ.

  1. คณะ กรรมการ ป ป ช ย่อมาจาก
  2. โค ลี น คลอ ไร ด์ คือ อะไร
  3. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.)
  4. คณะ กรรมการ ป ป ช มี กี่ คน
  5. Golden neo พระราม 2 pantip 1
  6. คณะ กรรมการ ป ป ช คืออะไร
  7. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ - วิกิพีเดีย
  8. Acer Aspire Vx5 เช็คราคาล่าสุด ราคาถูก ราคาปัจจุบัน
  9. Agoda ส่วนลด บัตร เครดิต กรุง ศรี

คณะ กรรมการ ป ป ช ย่อมาจาก

14 พ. ค. 64 - ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป. ป. ช. ) เรื่อง คุณสมบัติและวิธีการได้มาซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการ ป. พ. ศ. 2564 ลงนามโดย พล. ต. อ. วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานคณะกรรมการ ป. ช. สำหรับประกาศดังกล่าวได้กำหนดว่า เลขาธิการคณะกรรมการ ป. ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติว่าด้วยการบริหารทรัพยากรบุคคลของสำนักงานป. คือ สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า นอกจากนี้ ดำรงตำแหน่งที่เคยดำรงตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ดังนี้ อธิบดีหรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งเทียบเท่าอธิบดีตามกฏหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี, ข้าราชการสำนักงาน ป. ซึ่งดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการคณะกรรมการป.

ในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ. 2542 การสรรหา [ แก้] การสรรหาและการเลือกกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มาตรา 5/1 [3] เมื่อมีกรณีที่ต้องสรรหาและคัดเลือกกรรมการ ให้ดำเนินการดังต่อไปนี้ 1. ในการสรรหากรรมการ ให้คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการ ป. และคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดินสรรหาและเสนอรายชื่อบุคคลผู้มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๖ และมาตรา ๗ (๔) องค์กรละห้าคน ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีเหตุทำให้ต้องมีการสรรหาและคัดเลือกกรรมการ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการคัดเลือก สำหรับกรณีที่เป็นการสรรหาเพื่อแต่งตั้งกรรมการ แทนตำแหน่งที่ว่าง ให้องค์กรดังกล่าวแต่ละองค์กรเสนอรายชื่อเท่าจำนวนกรรมการที่ว่างลง 2. ให้มีคณะกรรมการคัดเลือก ประกอบด้วย ประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน เป็นกรรมการคัดเลือก โดยให้เลือกกันเอง เป็นประธานกรรมการคัดเลือกคนหนึ่ง ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งใดหรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ผู้ทำการแทน ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนั้น ทำหน้าที่กรรมการคัดเลือกแทน 3. ให้คณะกรรมการคัดเลือกพิจารณาคัดเลือกบุคคลเป็นกรรมการจากรายชื่อบุคคลตาม (๑) ให้ได้จำนวนตามที่จะต้องแต่งตั้ง 4.

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป. ป. ช. ) ( อังกฤษ: National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วย กรรมการจำนวน 9 คน [1] ซึ่ง พระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของ วุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประวัติ [ แก้] ยุคคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ [ แก้] คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ หรือชื่อย่อ ป. จัดตั้งขึ้นในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ. ศ. 2518 โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ พ. 2518 เหตุผลในการจัดตั้ง ป. สืบเนื่องมาจากขบวนการนักศึกษาและประชาชนกดดันให้รัฐบาลยึดทรัพย์สินของผู้นำรัฐบาลที่ถูกโค่นล้มไปในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และเอาจริงเอาจังกับการปราบปรามทุจริตที่แพร่ระบาดมากในวงราชการ โดยมีการแต่งตั้งกรรมการ ป.

คณะ กรรมการ ป ป ช ประจำจังหวัดสุรินทร์

2551 พระราชบัญญัติของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ. 2559 พระราชบัญญัติของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 3) พ. 2561

  1. ตำหนิ เหรียญ ไตรมาส หลวง ปู่ ทิม
  2. เหรียญ หลวง พ่อ รวย ตอก โค๊ ต 91.1
  3. The sixth sense พากย์ ไทย
  4. การ ตัด ขอบ ป้าย นิเทศ
  5. เหรียญ ปลดหนี้ หลวง พ่อ กวย